เบื้องหลังภาพวาด ‘มหาราชา’ สะท้อนความรักของพสกนิกรมลายูมุสลิมชายแดนใต้
ผมสร้างงานศิลปะนี้ ตั้งชื่อว่า “มหาราชา” ตั้งใจจะใช้คำที่พ้องเสียงในภาษามลายู ที่อ่านออกเสียงเดียวกันกับภาษาไทย เป็นแนวคิดในการวาด
ผมสร้างงานศิลปะนี้ ตั้งชื่อว่า “มหาราชา” ตั้งใจจะใช้คำที่พ้องเสียงในภาษามลายู ที่อ่านออกเสียงเดียวกันกับภาษาไทย เป็นแนวคิดในการวาด
ครั้งแรกที่จังหวัดเชียงใหม่ น้อมนำโครงการตามแนวพระราชดำริ ที่มีอยู่ในพื้นที่ กว่า 4 พันโครงการ กิจกรรม จัดแสดงนิทรรศการ สร้างโมเดลจำลองภายในศาลากลาง เผยแพร่พระเกียรติคุณ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช น้อมรำลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ เปิดให้ประชาชนผู้สนใจเข้าชม ระหว่าง 26 ต.ค.59 – 20 ม.ค. 60 นี้ เท่านั้น
วิจิตร ไชยวัณณ์ อดีตบรรณาธิการหนังสือพิมพ์คนเมือง หนังสือพิมพ์ฉบับแรกของจังหวัดเชียงใหม่ เปิดลิ้นชักความทรงจำ และความภาคภูมิใจในชีวิตของนักหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นที่ได้ตามเสด็จ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระบรมราชินีนาถเสด็จเยือนสหรัฐอเมริกาครั้งแรกเมื่อกลางปี 2503
16 ตุลาคม 2559 ที่ผ่านมามีการรวมตัวของนักร้อง นักดนตรีในเชียงใหม่ เกือบ 100 คน ร่วมสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณและแสดงความอาลัยต่อพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ใช้เวลาทั้งสิ้น 11 ชั่วโมงในห้องอัดเสียง สร้างสรรค์บทเพลง “พ่อเหนื่อยพอแล้ว”
หมอลำ ฉวีวรรณ ดำเนิน ศิลปินแห่งชาติ ปี 2536 พร้อมด้วยศิลปินพื้นบ้านอีสาน คุณอ้น แคนเขียว ได้รวมแรงใจขับร้องบทกลอนลำล่อง ซึ่งประพันธ์กลอนลำโดย อ.จักรินทร์ สร้อยสูงเนิน เพื่อแสดงความอาลัยพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ด้วยสำนึกในพระมหากรุณาธิคุณอย่างหาที่สุดมิได้
ในห้วงยามแห่งความเศร้าโศกของพสกนิกรชาวไทย ศิลปะหลากหลายแขนงถูกนำมาบันทึกประวัติศาสตร์และถ่ายทอดความรู้สึกผ่านเรื่องราวต่างๆมากมายที่ยากจะเอื้อนเอ่ยด้วยถ้อยคำ
เว็บไซต์นี้องค์การกระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย (สสท.) จัดทำขึ้นเพื่อบันทึกเรื่องราวของพสกนิกรที่สร้างสรรค์งาน จัดกิจกรรม โดยได้รับแรงบันดาลใจจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9
สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส (Thai PBS) อาคารสำนักงานใหญ่ 145 ถนนวิภาวดีรังสิต แขวงตลาดบางเขน เขตหลักสี่ กรุงเทพฯ 10210 โทร. 0-2790-2000 โทรสาร. 0-2790-2020